So ein Outback ist Kosum Phisai nicht, habe die Frikadellen nur als Beispiel genannt. Wir bringen aber immer Gewürze und Zutaten mit, die nicht so einfach aufzutreiben sind um dem Gericht den perfekten Tatsch zu geben. Kosum Phisai ist in 40 Minuten von Khon Kaen aus zu erreichen. Außerdem bietet sich Kosum Phisai für einen Besuch an
Obwohl Touristen oft einen Zwischenstop in Khon Kaen auf ihrer Reise in den Norden einlegen, ist dieser Park relativ unentdeckt geblieben. Eine Besonderheit stellen die Affen im Park dar. Ihnen wird nachgesagt, dass sie auf der Suche nach Nahrungsmitteln auf vorbeifahrenden Bussen und Songthaews aufspringen und mit ihnen bis in die Stadt fahren. Verkaufsstände am Parkeingang bieten für ein paar Bath Tüten mit Erdnüssen für die Fütterung der Tiere an. Es ist aber Vorsicht angebracht, vor allem wenn man in Begleitung von Kindern ist. Diese Affen können nicht nur sehr aufdringlich sein, sondern können auch äußerst aggressiv reagieren. Die Empfehlung der Parkranger, einen Stock mitzuführen, sollte schon beherzigt werden. Die gut gepflegten Wanderwege führen in einem Teil in noch unberührt erscheinende Landschaft mit noch Resten von tropischem Urwald.
[FONT="]อำเภอโกสุมพิสัย[/FONT]
([FONT="]จังหวัดมหาสารคาม)[/FONT]
[FONT="]อำเภอโกสุมพิสัย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของจังหวัดมหาสารคาม[/FONT] [FONT="]อยู่ห่างจากจังหวัดมหาสารคาม [/FONT]28 [FONT="]กิโลเมตร มีพื้นที่ [/FONT]956,351 [FONT="]ตารางกิโลเมตร[/FONT]
( 527,791 [FONT="]ไร่ ) มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอ ต่าง ๆ ดังนี้[/FONT]
[FONT="]ทิศเหนือ - ติดต่อกับอำเภอเชียงยืน และ อำเภอกันทรวิชัย[/FONT]
[FONT="]จังหวัดมหาสารคาม[/FONT]
[FONT="]ทิศตะวันออก - ติดต่อกับอำเภอกันทรวิชัย และ อำเภอเมือง[/FONT]
[FONT="]จังหวัดมหาสารคาม[/FONT]
[FONT="]ทิศใต้ - ติดต่อกับกิ่งอำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม[/FONT]
[FONT="]และ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น[/FONT]
[FONT="]ทิศตะวันตก - ติดต่อกับอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น[/FONT]
[FONT="]ลักษณะภูมิประเทศ[/FONT]
[FONT="]โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง ลุ่ม ๆ ดอน ๆ ไม่มีภูเขา พื้นที่ด้านทิศเหนือ[/FONT]
[FONT="]ค่อนข้างจะอุดมสมบูรณ์ เพราะมีแหล่งน้ำธรรมชาติ คือ แม่น้ำชี ไหลผ่าน[/FONT]
[FONT="]นอกจากนี้ยังมีคลองส่งน้ำชลประทาน เขื่อนหนองหวาย ซึ่งเอื้อประโยชน์[/FONT]
[FONT="]ต่อการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ส่วนทางทิศใต้ เป็นเนินสูงแห้งแล้ง[/FONT]
[FONT="]ไม่มีแหล่งน้ำธรรมชาติ[/FONT]
[FONT="]ลักษณะภูมิอากาศ[/FONT]
[FONT="]อำเภอโกสุมพิสัยในฤดูฝน ฝนตกมากในช่วงเดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน[/FONT] [FONT="]ของทุกปี ฤดูร้อนจะร้อนมาก โดยเฉพาะในเดือนมีนาคม - เดือนเมษายน[/FONT] [FONT="]ในฤดูหนาวจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศจึงค่อนข้างหนาว[/FONT]
[FONT="]การปกครอง[/FONT]
[FONT="]อำเภอโกสุมพิสัยแบ่งการปกครองออกเป็น [/FONT]17 [FONT="]ตำบล จำนวน [/FONT]121 [FONT="]หมู่บ้าน[/FONT] 21,664 [FONT="]หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด [/FONT]119,085 [FONT="]คน เป็นชาย จำนวน [/FONT]63,099 [FONT="]คน[/FONT] [FONT="]เป็นหญิง จำนวน [/FONT]55,995 [FONT="]คน[/FONT]
[FONT="]การคมนาคม[/FONT]
[FONT="]การคมนาคม ค่อนข้างจะสะดวกสบาย มีถนนของทางหลวง [/FONT]4 [FONT="]สาย คือ[/FONT]
1. [FONT="]สายโกสุมพิสัย - จังหวัดมหาสารคาม ระยะทาง [/FONT]28 [FONT="]กิโลเมตร[/FONT]
2. [FONT="]สายโกสุมพิสัย - จังหวัดขอนแก่น ระยะทาง [/FONT]44 [FONT="]กิโลเมตร[/FONT]
3. [FONT="]สายโกสุมพิสัย - อำเภอเชียงยืน (จ.มหาสารคาม) ระยะทาง [/FONT]21 [FONT="]กิโลเมตร[/FONT]
4. [FONT="]สายโกสุมพิสัย - กิ่งอำเภอกุดรัง (จ.มหาสารคาม) ระยะทาง [/FONT]36 [FONT="]กิโลเมตร[/FONT]
[FONT="]การศึกษา และ วัฒนธรรม[/FONT]
[FONT="]โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน [/FONT]75 [FONT="]โรงเรียน[/FONT]
[FONT="]โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน [/FONT]5 [FONT="]โรงเรียน[/FONT]
[FONT="]วัด จำนวน [/FONT]90 [FONT="]วัด[/FONT]
[FONT="]ศูนย์พัฒนาเด็ก จำนวน [/FONT]7 [FONT="]ศูนย์[/FONT]
[FONT="]โบสถ์คริสต์ จำนวน [/FONT]1 [FONT="]แห่ง[/FONT]
[FONT="]สถานที่่ท่องเที่ยว ของอำเภอโกสุมพิสัย[/FONT]
[FONT="]หลวงพ่อมิ่งเมือง[/FONT]
[FONT="]หลวงพ่อมิ่งเมือง เป็นพระพุทธรูป ซึ่งสลักด้วยหินศิลาแลง ประดิษฐาน[/FONT] [FONT="]อยู่ที่ซากพัทธสีมา ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้ำชี[/FONT] [FONT="]ลักษณะเป็นพระพุทธรูปที่มีแค่ครึ่งท่อนบน[/FONT] [FONT="]อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอไปทางทิศเหนือประมาณ [/FONT]300 [FONT="]เมตร สร้างในสมัยใด[/FONT] [FONT="]ใครเป็นผู้สร้างไม่ปรากฎ[/FONT] [FONT="]แต่เข้่าใจว่าสร้างในสมัยขอมเรืองอำนาจอยู่ในแคว้นนี้ ราว พ.ศ. [/FONT]1300 – 1700 [FONT="]เมื่อก่อนสถานที่นี้เป็นโบสถ์ร้าง หลังคา และ ฝาผนังพังทลายลงไปมาก[/FONT] [FONT="]องค์พระประธาน (หลวงพ่อมิ่งเมือง) นอนหงายอยู่กับพื้น[/FONT] [FONT="]องค์พระประธานชำรุดมาก แขนหัก คอหัก เศียรก็ไม่สมบูรณ์[/FONT] [FONT="]และขาก็หักออกเป็นท่อน ๆ เรียงรายอยู่ในป่าดงดิบ ชาวบ้านเรียกว่า[/FONT] "[FONT="]พระคอกุ้น (พระคอกุด)" ผู้คนที่ผ่านไปมา ต้องนั่งลงกราบไหว้เสียก่อน[/FONT] [FONT="]แล้วรีบไป ไม่กล้าที่จะจ้องมองตรง ๆ[/FONT]
[FONT="]ในปี พ.ศ. [/FONT]2502 [FONT="]ท่านพระครูพิสัยโกสุมกิจ เจ้าคณะอำเภอในสมัยนั้น[/FONT] [FONT="]ได้เชิญชวน ชาวบ้านสละทรัพย์ก่อสร้างเป็นลักษณะมณฑปครอบองค์หลวงพ่อไว้[/FONT] [FONT="]โดยลาดพื้นด้วยซีเมนต์ แล้วต่อเป็นเสาคอนกรีตขึ้นมา มุงหลังคาด้วยกระเบี้อง[/FONT] [FONT="]และท่านเจ้่าคณะอำเภอได้เสนอใน ที่ประชุมให้ขนานนามองค์หลวงพ่อว่า[/FONT] "[FONT="]หลวงพ่อมิ่งเมือง" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา[/FONT]
[FONT="]ในปี พ.ศ. [/FONT]2505 [FONT="]ทางราชการอนุญาตให้จัดงานเทศกาลฉลององค์หลวงพ่อมิ่งเมือง เป็นประจำทุกปี[/FONT] [FONT="]โดยถือเอาวันที่ [/FONT]1 – 3 [FONT="]กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นวันงาน เพราะเป็นวัน[/FONT] [FONT="]คล้ายวันวางศิลาฤกษ์มณฑปหลังใหม่[/FONT]
[FONT="]หลวงพ่อมิ่งเมืองนั้นชาวโกสุมพิสัย และชาวจังหวัดใกล้เคียง ถือว่า[/FONT] [FONT="]เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์[/FONT] [FONT="]คู่บ้านคู่เมืองควรแก่การเคารพสักการะเป็นอย่างสูง[/FONT] [FONT="]สมัยก่อนเมื่อพ่อค้าวานิชจะนำโคกระบือ หรือต้อนสุกรไปขาย โดยผ่านที่ตรงนี้[/FONT] [FONT="]ต้องทำความเคารพบูชาด้วยดอกไม้ธูปเทียนเสียก่อน คล้าย ๆ[/FONT] [FONT="]กับว่าต้องขออนุญาตเสียก่อน จึงไปได้ มิฉะนั้นฝูงสัตว์อาจแตกตื่น[/FONT] [FONT="]และวิ่งหนี นอกจากนั้นยังบันดาลให้คน และสัตว์ เจ็บป่วยก็ได้[/FONT] [FONT="]เมื่อผู้ใดได้ย้ายมาอยู่ใหม่ต้องบอกเล่า มีธูปเทียนไปบูชา และมีการบนบาน[/FONT]
[FONT="]ต่าง ๆ เช่น ให้อยู่ดีกินดี มีความสุข ทำมาค้าขึ้น หรือขอให้พบ คน[/FONT] [FONT="]สัตว์ วัตถุ สิ่งของ ที่สูญหายไป เป็นต้น[/FONT] [FONT="]เคยมีคนโลภหยาบช้าไม่เกรงกลัวบาปกรรม ได้พากันลักลอบขุดค้น ใต้ฐานพระ[/FONT] [FONT="]จนทำให้องค์หหลวงพ่อมิ่งเมืองล้มลง แตกหักเสียหาย[/FONT] [FONT="]แต่คนเหล่านั้นก็ไม่สามารถหลบหนีกรรมชั่วที่ตนเองได้กระทำไว้[/FONT] [FONT="]มีอันเป็นไปจนถึงแก่ชีวิต[/FONT]
[FONT="]อภินิหารหลวงพ่อมิ่งเมืองมีมากมาย และ สักขีพยานอีกอย่างหนึ่ง[/FONT] [FONT="]ที่พอจะนำมากล่าวอ้างคือ ส่วนทางด้านทิศเหนือมณฑปของหลวงพ่อมิ่งเมือง[/FONT] [FONT="]เป็นวนอุทยานโกสัมพี มีลิงวอกอาศัยอยู่ ประมาณ [/FONT]800 – 1,000 [FONT="]ตัว กล่าวกันว่า[/FONT] [FONT="]ลิงเหล่านี้ เป็นบริวาร และเป็นสัตว์เลี้ยงของหลวงพ่อมิ่งเมือง[/FONT] [FONT="]ผู้ใดจะทำร้ายมิได้ ถ้าหากทำให้ลิงบาดเจ็บ[/FONT]
[FONT="]หรือตายไป โดยที่ลิงไม่ได้ทำร้ายผู้นั้นก่อน ผู้ที่ทำร้ายลิง ต้องได้รับอันตราย ด้วยประการทั้งปวง[/FONT]
[FONT="]อย่างน้อยก็เกิดฝันร้่าย แต่บางราย ก็ถึงกับล้มป่วย หรือตายไปเลย[/FONT] [FONT="]ไม่ว่าจะเป็นชาวบ้าน หรือภิกษุสามเณรก็ตาม ทำให้ชาวโกสุมพิสัย[/FONT] [FONT="]และผู้ที่อยู่ในจังหวัดใกล้เคียงมีความเคารพ ยำเกรงในองค์หหลวงพ่อมิ่งเมือง[/FONT] [FONT="]มาจนตราบเท่าทุกวันนี้[/FONT]
[FONT="][/FONT]
[FONT="]Gruß Hans
[/FONT]